อุตสาหกรรมสิ่งทอแฟชั่นขานรับ BCG โมเดล พัฒนาธุรกิจด้วยความยั่งยืน

อื่นๆ
15/12/2565     |     อ่าน : 602 ครั้ง

ฟังแนวคิดจากคนรุ่นใหม่ 3 ทายาท สิ่งทอแฟชั่น พลังสำคัญ สานต่อธุรกิจด้วย BCG โมเดล พัฒนาและสร้างธุรกิจด้วยความยั่งยืน

ฟังแนวคิดจากคนรุ่นใหม่ 3 ทายาท สิ่งทอแฟชั่น พลังสำคัญ สานต่อธุรกิจด้วย BCG โมเดล พัฒนาและสร้างธุรกิจด้วยความยั่งยืน

3 ทายาทสิ่งทอ มาเล่าแนวคิดในการทำธุรกิจด้วย BCG Economy Model
คุณแพรวพราย ก้องเกียรติไกร ที่ปรึกษาผู้บริหาร และทายาทธุรกิจ บริษัท ก้องเกียรติ เท็กซ์ไทล์ จำกัด
คุณธมลวรรณ วิโรจน์ชัยยันต์ ทายาทธุรกิจสิ่งทอ และผู้ร่วมก่อตั้ง Moreloop
คุณนุตรา อุตมาภินันท์ ทายาทธุรกิจสิ่งทอ และกรรมการบริหารบริษัท ยูไนเต็ด เท็กซ์ไทล์ มิลส์ จำกัด

สำหรับ BCG Model เป็นการพัฒนาเศรษฐกิจแบบองค์รวม ที่จะพัฒนา 3 เศรษฐกิจ ไปพร้อมกัน ได้แก่ เศรษฐกิจชีวภาพ (Bioeconomy) โดยเน้นการพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์มูลค่าสูง เชื่อมโยงกับ และทั้ง 2 เศรษฐกิจนี้ อยู่ภายใต้ไปพร้อมกัน โดยเปลี่ยนข้อได้เปรียบที่ไทยมีจากความหลากหลายทางชีวภาพและวัฒนธรรม ให้เป็นความสามารถในการแข่งขันด้วยนวัตกรรม เพื่อให้เกิดเศรษฐกิจ BCG ที่เติบโต แข่งขันได้ในระดับโลก เกิดการกระจายรายได้ลงสู่ชุมชน ลดความเหลื่อมล้ำ ชุมชนเข้มแข็ง มีความเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและการพัฒนาที่ยั่งยืน

Bio Economy : B เศรษฐกิจชีวภาพ มุ่งเน้นการใช้ทรัพยากรชีวภาพเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม
Circular Economy : C เศรษฐกิจหมุนเวียน คำนึงถึงการนำวัสดุต่าง ๆ กลับมาใช้ประโยชน์ให้มากที่สุด
Green Economy : G เศรษฐกิจสีเขียว การพัฒนาเศรษฐกิจควบคู่ไปกับการพัฒนาสังคมและการรักษาสิ่งแวดล้อมได้อย่างสมดุล

อ้างอิง :https://textilessquare.org/web/project/detail.php?id=158

ข่าวสารความเคลื่อนไหว
เครือข่าย IWIN เปิดตัวโครงการ Circular Upholstery Textile เป้าหมายเพื่อเปลี่ยนเส้นทางของเสียจากหลุมฝังกลบกลับมาใช้ใหม่และการรีไซเคิล
Le Casino เปลี่ยนขยะเป็นโอกาสกับเส้นทางเดินของรองเท้ารักษ์โลก
ญี่ปุ่นตั้งเป้าขยายธุรกิจเศรษฐกิจหมุนเวียน
ยุทธศาสตร์ใหม่ของสหภาพยุโรปสำหรับสิ่งทอที่ยั่งยืนและสิ่งทอหมุนเวียน
COP27 เริ่มแล้ว ประเด็นร้อนการหารือเรื่องการให้ชาติร่ำรวยต้องชดเชยให้กับชาติยากจนที่ได้รับผลกระทบจากโลกร้อน
Marimekko นำร่องโครงการ Closed Loop โดยใช้วัสดุเหลือใช้
นวัตกรรมเส้นใยจากใบอ้อยสร้างมูลค่าเพิ่มจากวัตถุดิบเหลือใช้ทางการเกษตรสู่ผลิตภัณฑ์แฟชั่นจากธรรมชาติ